แบ่งปัน แนวกรม ศุลกากร ภาค ข
Part I : Writing AbilityA. Sentence CompletionDirection: Choose one of the choices that best completes the given sentence.
1. As fuel prices rose, bus companies raised their their fares and _____ .
a. so did the airlines b. neither did the airlines
c. so the airlines have done d. neither the airlines did
a. so did the airlines b. neither did the airlines
c. so the airlines have done d. neither the airlines did
2. The committee has met and _____ .
a. they have reached a decision
b. it has formulated themselves some opinions
c. its decision was reached at
d. it has reached a decision
a. they have reached a decision
b. it has formulated themselves some opinions
c. its decision was reached at
d. it has reached a decision
Part III : Reading Comprehension
Direction: Read the following passage to answer the questions by choosing from a, b, c, d.Passage I
A vaccine against E. coli, the deadly food poisoning bacteria that forced the recall last year of millions of kilograms of US beef, has been tested successfully on a small group of volunteers, researchers said on Monday.
Scientists at the US National Institute of Child Health and Human Development and the Carolinas Medical Center in Charlotte, North Carolina, report that a preliminary study using 87 volunteers showed that the vaccine causes an immune reaction that could protect against infection by E. coli 01570. “This is still very early in the research,” said Dr. Dwayne Alexander, director of the institute on child health and human and human development, one of the US national Institutes of Health. “This is the first human study of this proposed vaccine.”
He said the important finding is that the vaccine produced a level on antibody in the volunteers that could kill E. coli 0157 in the test tube. “We don’t know yet if it will kill the bacteria in the body,” he said.
Dr. Alexander said the next step is tests to determine if the vaccine will prevent E. coli infection in cattle, which are thought to be the most common source of the infection.
E. coli 0157 is a deadly, new strain of bacteria that can contaminate beef, fruit juice and other food, causing severe food poisoning symptoms, including bloody diarrhea and damaged kidneys. People can also become infected by swimming in lakes or rivers contaminated with the organism.
E. coli is formally known as Escherichia coli, named for Theodor Escherich, a German bacteriologist who first isolated it 111 years ago. A benign form of the organism lives in the human gut where it is essential for digestion.
Researchers believe that some genes of a dangerous virus, called shigella, were transferred into E. coli during a shigella epidemic in Central America in the 1970s. This transformed one strain of a usually harmless germ into a pathogen that does not respond well to antibiotics and can cause severe food poisoning.
This story is mainly about
a. the discovery of what causes a new and deadly illness.
b. the creation of a successful vaccine which protects people against a dangerous infection.
c. an important step in the creation of a successful vaccine which might some day protect people against a dangerous infection.
d. an explanation of how vaccines are made and tested.
.........................................................................................................................
In paragraph two, why did the writer call the research “a preliminary study”?
a. because it was successful
b. because it used volunteers
c. because it has been going on for a very long time
d. because there is still much more research to be done
........................................................................................................................
B. Cloze I
Direction: Read the following passage to complete the blanks by choosing the words from a, b, c, or d.
Forestry Department officials have asked the police to __31__ over 13,000 illegal logs in
Ban Tak district and take legal action against the owner of the timber and other __32__ officials.
Forestry Department chief Sathit Sawinthorn made the request after members of the
House Local Administration Committee requested __33__ into the case and experts from
the Agriculture Ministry found most of the logs were __34__ felled.
Ban Tak district and take legal action against the owner of the timber and other __32__ officials.
Forestry Department chief Sathit Sawinthorn made the request after members of the
House Local Administration Committee requested __33__ into the case and experts from
the Agriculture Ministry found most of the logs were __34__ felled.
According to the complaint, Kamol Kaewket was authorized by Sahawanakij Company
last December to have the __35__ delivered from Mae Sariang district of Mae Hong Son to Ban
Tak district under some Mae Sariang forestry officials’ __36__ which were believed to be fake.
last December to have the __35__ delivered from Mae Sariang district of Mae Hong Son to Ban
Tak district under some Mae Sariang forestry officials’ __36__ which were believed to be fake.
Those involved face charges of having logs in their possession without permission and
using __37__ log delivery permits. The officials face a malfeasance __38__ .
using __37__ log delivery permits. The officials face a malfeasance __38__ .
After the bribery scandal of deputy Forestry Department chief Prawat Thanadkha had
been linked to massive illegal logging in the park and __39__, The department was accused of
being involved in the __40__ operation.
been linked to massive illegal logging in the park and __39__, The department was accused of
being involved in the __40__ operation.
31. a. nationalize b. seize
c. release d. provide
c. release d. provide
32. a. honest b. arrogant
c. involved d. declined
c. involved d. declined
33. a. investigations b. interview
c. compensation d. jargon
c. compensation d. jargon
.............................................................................................................................................
มีต่อ อิอิ...ดาวน์โหลด
...................................................................................................................................................................
ในการนำเข้าสินค้า ผู้นำเข้าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และประกาศที่กรมศุลกากรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการนำเข้า
อาทิ กระทรวงพาณิชย์สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมปศุสัตว์ ฯลฯ ที่กำหนดไว้ให้ครบถ้วน โดยมีคำแนะนำในการจัดเตรียมเอกสาร
และปฏิบัติตามขั้นตอนพิธีการศุลกากรในการนำเข้าสินค้า ดังนี้
1. ประเภทใบขนสินค้าขาเข้า เป็นแบบพิมพ์ที่กรมศุลกากรกำหนดให้ผู้นำเข้าต้องยื่นต่อกรมศุลกากรในการนำเข้าสินค้า ซึ่งจำแนกออกเป็น 9 ประเภทตามลักษณะการนำเข้า ดังนี้
2. เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนำเข้าสินค้า
3. ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนำเข้าสินค้า
7.1.1 ต าแหน่งนักวิชาการศุลกากรปฏิบัติการ ทดสอบความรู้ความสามารถ โดยวิธี
สอบข้อเขียน (ข้อสอบแบบปรนัย 200 ข้อ ใช้เวลาสอบ 3 ชั่วโมง) ดังต่อไปนี้
(1) ความรู้ด้านภาษาอังกฤษ คะแนนเต็ม 80 คะแนน (Structure,
Vocabulary, Reading Comprehension, ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับงานศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ)
(2) ความรู้เฉพาะต าแหน่ง คะแนนเต็ม 120 คะแนน
(2.1) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายศุลกากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับ
การศุลกากร
(2.2) ความรู้เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
(2.3) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(2.4) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบในการปฏิบัติราชการ
...................................................................................................................................................................
ในการนำเข้าสินค้า ผู้นำเข้าจะต้องปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และประกาศที่กรมศุลกากรและหน่วยงานอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้องในการนำเข้า
อาทิ กระทรวงพาณิชย์สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กรมปศุสัตว์ ฯลฯ ที่กำหนดไว้ให้ครบถ้วน โดยมีคำแนะนำในการจัดเตรียมเอกสาร
และปฏิบัติตามขั้นตอนพิธีการศุลกากรในการนำเข้าสินค้า ดังนี้
1. ประเภทใบขนสินค้าขาเข้า เป็นแบบพิมพ์ที่กรมศุลกากรกำหนดให้ผู้นำเข้าต้องยื่นต่อกรมศุลกากรในการนำเข้าสินค้า ซึ่งจำแนกออกเป็น 9 ประเภทตามลักษณะการนำเข้า ดังนี้
(1) แบบ กศก. 99/1 ใบขนสินค้าขาเข้าพร้อมแบบแสดงรายการภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพิ่ม ใช้สำหรับการนำเข้าสินค้าทั่วไปทุกประเภทที่กรมศุลกากรมิได้กำหนดให้ใช้ใบขนสินค้าประเภทอื่น (2) แบบ กศก. 102 ใบขนสินค้าขาเข้าพิเศษพร้อมแบบแสดงรายการภาษีสรรพสามิตและภาษีมูลค่าเพิ่ม ใช้สำหรับการนำเข้าสินค้าทางอากาศยานหรือพิธีการอื่นที่กรมศุลกากรกำหนดสำหรับของที่นำเข้าในลักษณะเฉพาะ เช่น การนำเข้าสัตว์เลี้ยงมีชีวิต (3) แบบ กศก. 103 คำร้องขอผ่อนผันรับของ/ส่งของออกไปก่อน ใช้สำหรับการนำเข้าหรือส่งออกสินค้าก่อนปฏิบัติพิธีการครบถ้วนตามที่กรมศุลกากรกำหนด (4) แบบ A.T.A. Carnet ใบขนสินค้าสำหรับนำของเข้าหรือส่งของออกชั่วคราว ใช้สำหรับการนำเข้าหรือส่งออกสินค้าชั่วคราวประเภทต่าง ๆ ตามที่ระบุในอนุสัญญา (5) แบบ JDA (Joint Development Area) ใบขนสินค้าสำหรับพื้นที่พัฒนาร่วมไทย- มาเลเซีย ใช้สำหรับการนำเข้าสินค้าในเขตพื้นที่พัฒนาร่วมไทย-มาเลเซีย (6) แบบใบแนบ 9 ใบขนสินค้าถ่ายลำ ใช้สำหรับพิธีการสินค้าถ่ายลำ (7) แบบที่ 448 ใบขนสินค้าผ่านแดน ใช้สำหรับพิธีการสินค้าผ่านแดน (8) ใบขนสินค้าพิเศษสำหรับรถยนต์และจักรยานยนต์นำเข้าหรือส่งออกชั่วคราว ใช้สำหรับการนำรถยนต์และจักรยานยนต์เข้ามาในประเทศหรือส่งออกชั่วคราว (9) ใบขนสินค้าพิเศษสำหรับเรือสำราญและกีฬาที่นำเข้าหรือส่งออกชั่วคราว ใช้สำหรับการนำเรือสำราญและกีฬาเข้ามาในประเทศหรือส่งออกชั่วคราว |
2. เอกสารที่ควรจัดเตรียมในการนำเข้าสินค้า
(2.1) สำหรับพิธีการชำระอากร พิธีการวางประกัน พิธีการขนถ่ายข้างลำ พิธีการคลังสินค้า ทัณฑ์บนประเภทร้านค้าปลอดอากร ต้องมีเอกสารประกอบ ได้แก่ (1) ต้นฉบับใบขนสินค้าขาเข้า (กศก. 99/1) พร้อมสำเนา 1 ฉบับ เว้นแต่กรณีที่กรมศุลกากรกำหนดให้มีการจัดทำคู่ฉบับเพิ่ม เช่น สำหรับ การนำเข้าอาวุธปืน เครื่องกระสุนปืน วัตถุระเบิด การนำเข้าน้ำมันเชื้อเพลิง ที่ต้องส่งเงินเข้ากองทุนน้ำมัน กรณีดังกล่าวต้องมีสำเนาใบขนสินค้าขาเข้า 2 ฉบับ (2) ใบตราส่งสินค้า (Bill of Lading or Air Waybill) (3) บัญชีราคาสินค้า (Invoice) (4) แบบธุรกิจต่างประเทศ (ธ.ต.2)(Foreign Transaction Form) กรณีมูลค่าของนำเข้าเกินกว่า 500,000 บาท (5) แบบแสดงรายละเอียดราคาศุลกากร (กศก. 170) (6) ใบสั่งปล่อยสินค้า (กศก.100/1) (7) บัญชีรายละเอียดบรรจุหีบห่อ (Packing List) (8) ใบแจ้งยอดเบี้ยประกัน (Insurance Premium Invoice) (9) ใบอนุญาตหรือหนังสืออนุญาตสำหรับสินค้าควบคุมการนำเข้า (10) ใบรับรองแหล่งกำเนิดสินค้า (Certificate of Origin) กรณีขอลดอัตราอากร (11) เอกสารอื่น ๆ เช่น เอกสารแสดงส่วนผสม คุณลักษณะและการใช้งานของสินค้า แค็ดตาล็อก เป็นต้น (2.2) พิธีการหลายเที่ยวเรือ ต้องเพิ่มพิมพ์เขียว (BLUE PRINT) แบบแปลน แบบพิมพ์ หรือเอกสารประกอบอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องกับการพิจารณาให้ทำใบขนสินค้าหลายเที่ยวเรือ (2.3) พิธีการขอคืนอากรตามมาตรา 19 ทวิต้องเพิ่มสำเนาใบขนสินค้าขาเข้า (กศก.99/1) อีก 1 ฉบับ (2.4) พิธีการส่งเสริมการลงทุนต้องเพิ่มหนังสืออนุมัติให้ยกเว้นหรือลดหย่อนอากรจากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (2.5) พิธีการคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป ต้องเพิ่มเอกสารดังนี้ คือ (1) คำขออนุญาตนำของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป (แบบที่ 369) (2) คำขออนุญาตนำของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนทั่วไป ตามแบบที่กรมศุลกากรกำหนด (2.6) พิธีการคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า กรณีนำเข้าโดยผู้อื่นที่มิใช่ผู้รับอนุญาตจัดตั้งคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า ต้องเพิ่ม คำขออนุญาตนำของเข้าคลังสินค้าทัณฑ์บนประเภทโรงผลิตสินค้า (2.7) พิธีการสินค้าส่งกลับ (RE-EXPORT) กรณีอยู่ในอารักขาของศุลกากร ต้องเพิ่มเอกสารดังนี้ คือ (1) คำร้องขอผ่อนผันทำใบขนสินค้าส่งกลับ (RE-EXPORT) ชำระอากร 1 ใน 10 (2) ใบขนสินค้าขาออก (กศก.101/1) พร้อมเอกสารประกอบ (2.8) พิธีการนำของออกจากเขตอุตสาหกรรมส่งออก (EPZ) ต้องเพิ่มเอกสารดังนี้ คือ (1) แบบ กนอ.02-1 กรณีสินค้านำเข้าเป็นวัตถุดิบ (2) แบบ กนอ.02-1 และ กนอ.101 กรณีสินค้านำเข้าเป็นเครื่องจักร อุปกรณ์เครื่องมือและ เครื่องใช้ รวมทั้งส่วนประกอบของสินค้าดังกล่าวที่จำเป็นต้องใช้ในการผลิตสินค้าหรือการค้าเพื่อส่งออก |
3. ขั้นตอนการปฏิบัติพิธีการนำเข้าสินค้า
(1) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนบันทึกข้อมูลบัญชีราคาสินค้า (Invoice) ทุกรายการเข้าสู่เครื่องคอมพิวเตอร์ของตนเองหรือผ่าน Service Counter โดยโปรแกรมคอมพิวเตอร์จะแปลงข้อมูลบัญชีราคาสินค้าให้เป็นข้อมูลใบขนสินค้าโดยอัตโนมัติ และให้ผู้นำเข้าหรือตัวแทนส่งเฉพาะข้อมูลใบขนสินค้ามายังเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากร (2) เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้นในใบขนสินค้าที่ส่งเข้ามา เช่น ชื่อและที่อยู่ผู้นำของเข้า เลขประจำตัวผู้เสียภาษี พิกัดอัตราศุลกากร ราคา เป็นต้น ถ้าพบว่าข้อมูลใบขนสินค้าขาเข้าที่ส่งมาไม่ถูกต้อง เครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรจะแจ้งกลับไปยังผู้นำเข้าหรือตัวแทนเพื่อให้แก้ไขให้ถูกต้อง (3) เมื่อเครื่องคอมพิวเตอร์ของกรมศุลกากรตรวจสอบข้อมูลในใบขนสินค้าที่ส่งมาถูกต้องครบถ้วนแล้ว จะออกเลขที่ใบขนสินค้าขาเข้า พร้อมกับตรวจสอบเงื่อนไขต่างๆ ที่กรมศุลกากรกำหนดไว้ เพื่อจัดกลุ่มใบขนสินค้าขาเข้าในขั้นตอนการตรวจสอบพิธีการเป็น 2 ประเภท ดังต่อไปนี้ แล้วแจ้งกลับไปยังผู้นำเข้าหรือตัวแทน เพื่อจัดพิมพ์ใบขนสินค้า ใบขนสินค้าขาเข้าประเภทที่ไม่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Green Line) สำหรับใบขนสินค้าประเภทนี้ เครื่องคอมพิวเตอร์จะสั่งการตรวจ หลังจากนั้น ผู้นำเข้าหรือตัวแทนสามารถนำใบขนสินค้าขาเข้าไปชำระค่าภาษีอากรและรับการตรวจปล่อยสินค้าได้ ใบขนสินค้าขาเข้าประเภทที่ต้องตรวจสอบพิธีการ (Red Line) สำหรับใบขนสินค้าประเภทนี้ ผู้นำเข้าหรือตัวแทนต้องนำใบขนสินค้าไปติดต่อกับหน่วยงานประเมินอากรของท่าที่นำของเข้า (4) ผู้นำเข้าหรือตัวแทนต้องจัดเก็บข้อมูลบัญชีราคาสินค้าตามวรรคแรกในรูปของสื่อคอมพิวเตอร์เป็นเวลา ไม่น้อยกว่า 6 เดือน เพื่อใช้สำหรับการตรวจสอบใบขนสินค้าหลังการตรวจปล่อย โดยให้สามารถจัดพิมพ์เป็นรายงานเมื่อกรมศุลกากรร้องขอ ดังนี้ (4.1) IMPORT/EXPORT INVOICE LIST BY DECLARATION ITEM (4.2) IMPORT/EXPORT INVOICE LIST BY INVOICE ITEM (4.3) IMPORT/EXPORT INVOICE LIST .......................................................................................................................................................................................................... |
7.1.1 ต าแหน่งนักวิชาการศุลกากรปฏิบัติการ ทดสอบความรู้ความสามารถ โดยวิธี
สอบข้อเขียน (ข้อสอบแบบปรนัย 200 ข้อ ใช้เวลาสอบ 3 ชั่วโมง) ดังต่อไปนี้
(1) ความรู้ด้านภาษาอังกฤษ คะแนนเต็ม 80 คะแนน (Structure,
Vocabulary, Reading Comprehension, ภาษาอังกฤษที่เกี่ยวกับงานศุลกากรและการค้าระหว่างประเทศ)
(2) ความรู้เฉพาะต าแหน่ง คะแนนเต็ม 120 คะแนน
(2.1) ความรู้เกี่ยวกับกฎหมายศุลกากร และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวข้องกับ
การศุลกากร
(2.2) ความรู้เกี่ยวกับการค้าระหว่างประเทศ
(2.3) ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์
(2.4) ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมายและระเบียบในการปฏิบัติราชการ
http://www.customs.go.th/wps/wcm/connect/Library+cus501th/InternetTH/9/
ตอบลบกฎหมาย/ประกาศกรมศุลกากร
กฎหมาย
ประกาศกระทรวง
ประกาศกรมศุลกากร
ความผิดทางศุลกากร
พรบ.ศุลกากร 2469 และฉบับแก้ไขเพิ่มเติม
การจัดเก็บค่าธรรมเนียมตามใบแนบ ศ3
http://www.customs.go.th/wps/wcm/connect/Library+cus501th/InternetTH/3/
ตอบลบพิกัดศุลกากร
พิกัดศุลกากร และรหัสสถิติ (HS2012)
พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (HS2012)
ค้นหาพิกัดอัตราศุลกากร
พิกัดศุลกากรระบบฮาร์โมไนซ์ (HS2007)
การอุทธรณ์พิกัดศุลกากร
คำวินิจฉัยพิกัด
คำวินิจฉัยพิกัดฯ ของ WCO
การสอบถามพิกัดศุลกากรล่วงหน้า
ค้นหาอัตราอากร
http://www.customs.go.th/wps/wcm/connect/fb272e2a-d0cf-4d82-8fb8-9a631794ab2d/General+inf.pdf?MOD=AJPERES&CACHEID=fb272e2a-d0cf-4d82-8fb8-9a631794ab2d
ตอบลบhttp://internet1.customs.go.th/ext/Formality/ImportFormalities.jsp
ตอบลบพิธีการนำเข้า
พิธีการส่งออก
การนำเข้าของเพื่อจัดการประชุมระหว่างประเทศ
พิธีการนำเข้ายานพาหนะส่วนบุคคล
พิธีการการนำเข้าของใช้ในบ้านเรือน
พิธีการนำเข้าของเอกสิทธิ์หรือของที่ได้รับบริจาค
พิธีการ A.T.A. CARNET
พิธืการศุลกากรไปรษณีย์
พิธีการศุลกากรอื่นๆ
ใบสุทธินำกลับ